Tag: ลดความดันโลหิตสูง

หนานเฉาเหว่ย ทำให้ป่าช้าเหงาจริงหรือ?

หนานเฉาเหว่ย เป็นสมุนไพรที่กำเนิดจากประเทศจีนและตำรายาล้านนา มีสรรพคุณตามตำรายาจีนว่ามีประโยชน์ทางยา จากนั้นจึงมีการนิยมนำเข้ามาปลูกและขยายพันธุ์ในประเทศไทย และใช้เป็นสมุนไพรคู่ภูมิปัญญาพื้นบ้าน เพื่อรักษาโรคภัยไข้เจ็บได้ ชื่อวิทยาศาสตร์ : Suregada multiforum ชื่อวงศ์ : Euphorbiaceae ชื่อท้องถิ่น :.

มะม่วงหาวมะนาวโห่ ผลไม้มหัศจรรย์

มะม่วงหาวมะนาวโห่ จัดว่าเป็นผลไม้ท้องถิ่นที่มีรสเปรี้ยวมากสังเกตได้ว่าจะมีผลสีแดง แต่ก็จะมีรสหวานในช่วงที่ผลสุก และผลจะเป็นสีดำ นิยมรับประทานสดเพื่อดับกระหายคลายร้อน นอกจากนี้ยังมีคุณสมบัติเป็นสารต้านอนุมูลอิสระ จึงมีประโยชน์ต่อร่างกายหลายด้าน เช่น ช่วยต้านเซลล์มะเร็ง ช่วยป้องกันการเสื่อมสภาพของเซลล์ เป็นต้น และส่วนอื่นๆนอกจากผลก็ยังมีสรรพคุณทางยาหลายด้านอีกด้วย ข้อมูลทั่วไปของสมุนไพร1 ชื่อสมุนไพร : มะม่วงหาวมะนาวโห่.

แพงพวย ไม้ดอกต้านมะเร็ง

แพงพวยฝรั่ง นอกจากจะเป็นพืชดอกสำหรับปลูกประดับเพื่อความสวยงามแล้ว ยังมีสรรพคุณอีกมากมายที่เราอาจคาดไม่ถึง คือ สารสกัดจากต้นแพงพวยฝรั่งช่วยต้านมะเร็งได้ โดยเฉพาะมะเร็งเม็ดเลือดขาว ซึ่งปัจจุบันมีการนำสารสกัดที่ได้จากต้นแพงพวยฝรั่งนี้ไปใช้เป็นยาสำหรับรักษามะเร็งเม็ดเลือดขาว อีกแพงพวยฝรั่งยังมีฤทธิ์ในการลดความดันโลหิต ขับปัสสาวะ และลดไขมันในเลือดได้อีกด้วย ชื่อสมุนไพร: แพงพวยฝรั่ง ชื่อวิทยาศาสตร์: Catharanthus roseus.

เห็ดหลินจือ ยาอายุวัฒนะ จริงหรือ??

หลายๆคนอาจมีข้อสงสัยว่า ดอกเห็ดเล็กๆที่หน้าตาดูเหมือนเห็ดธรรมดาทั่วไปอย่าง ‘เห็ดหลินจือ’ ทำไมถึงมีราคาแพงมากมายนัก รับประทานแล้วมันมีประโยชน์อะไรกันแน่นะ? เราจะมาไขข้อสงสัยนั้นกัน! เห็ดหลินจือ ชื่ออื่นๆ : เห็ดจวักงู เห็ดนางกวัก เห็ดหมื่นปี LingZhi mushroom ชื่อวิทยาศาสตร์.

หญ้าหนวดแมว ช่วยขับนิ่ว ได้หรือไม่?

หญ้าหนวดแมว เป็นสมุนไพรชนิดหนึ่งที่รู้จักกันมานานในประเทศไทย มีสรรพคุณมากมาย เช่น ต้านการอักเสบ ลดความดันโลหิต ลดระดับน้ำตาลในเลือด และที่สำคัญ คือ ฤทธิ์ในการขับปัสสาวะและป้องกันการเกิดนิ่ว เนื่องจากมีงานวิจัยพบว่าสารสกัดจากหญ้าหนวดแมวสามารถป้องกันการเกิดนิ่วที่เกิดจากผลึกยูริกและแคลเซียมออกซาเลตได้ โดยการขับสารเหล่านี้ออกมาทางปัสสาวะ แต่อย่างไรก็ตามสรรพคุณเหล่านี้ส่วนใหญ่เป็นผลมาจากการทำวิจัยในหลอดทดลองและสัตว์ทดลองเท่านั้น ซึ่งการทำวิจัยในคนนั้นยังมีข้อมูลน้อย ดังนั้นประสิทธิภาพของการใช้หญ้าหนวดแมวในคนจึงไม่สามารถบอกผลได้อย่างชัดเจน การรับประทานหญ้าหนวดแมวแม้ผลการวิจัยจะพบว่าไม่ทำให้เกิดพิษเมื่อใช้ในขนาดสูง.